ทีมงาน dragonNest กล่าวกันเรื่องนี้ว่า (เพิ่มเติม) ฟิทช์ชี้การกระจุกตัวของสินเชื่อแบงก์ไทยยังไม่ใช่ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ
- написал: MckBelcher
- 1672
- 0
ทีมงาน dragonNest กล่าวกันเรื่องนี้ว่า ฟิทช์ เรทติ้งส์ ระบุว่าการกระจุกตัวของสินเชื่อที่เพิ่มสูงขึ้นในธนาคารรายใหญ่ของไทย ซึ่งเป็นผลมาจากการซื้อและควบรวมกิจการของบริษัทขนาดใหญ่ในช่วงที่ผ่านมา น่าจะยังคงอยู่ในระดับที่บริหารจัดการได้ เนื่องจากธนาคารยังคงมีความสามารถที่จะรองรับผลขาดทุนในระดับที่ค่อนข้างดี ปัจจัยดังกล่าวสะท้อนอยู่ในแนวโน้มอันดับเครดิตมีเสถียรภาพของธนาคารพาณิชย์ไทยที่ได้รับการจัดอันดับเครดิตโดยฟิทช์ อีกทั้งคาดว่ายังคงไม่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญของระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ (risk appetite) ของธนาคารพาณิชย์ส่วนใหญ่ รวมทั้งมาตรฐานในการกำกับดูแลของทางการในระยะปานกลาง
การขยายตัวในระดับสูงของสินเชื่อธุรกิจในประเทศไทยตั้งแต่ปี 2553 รวมทั้งการระดมเงินทุนโดยการออกตราสารหนี้สกุลเงินเหรียญสหรัฐฯ ในช่วงปี 2555 ของธนาคารพาณิชย์ไทยขนาดใหญ่ ปัจจัยทั้งสองแสดงถึงความต้องการเงินทุนที่เพิ่มมากขึ้นของบริษัทไทยขนาดใหญ่เพื่อการลงทุนทั้งในประเทศและต่างประเทศ หนึ่งในสัญญาณของการปรับตัวเพิ่มขึ้นของการกระจุกตัวของสินเชื่อ คืออัตราส่วนสินเชื่อของลูกหนี้รายใหญ่ 20 รายแรกต่อส่วนของผู้ถือหุ้นได้ปรับตัวเพิ่มขึ้นตั้งแต่ปี 2553 อย่างไรก็ตามอัตราส่วนดังกล่าวโดยรวมยังคงอยู่ในระดับที่ใกล้เคียงกับอัตราส่วนของธนาคารพาณิชย์อื่นในภูมิภาคซึ่งอยู่ที่ระดับ 100% — 150% และธนาคารพาณิชย์ไทยบางแห่งมีอัตราส่วนดังกล่าวต่ำกว่านี้
อย่างไรก็ตามด้วยเงินกองทุนและระดับสำรองหนี้สงสัยจะสูญที่อยู่ในระดับแข็งแกร่ง รวมทั้งความสามารถในการทำกำไรที่ค่อนข้างมั่นคง น่าจะช่วยรองรับผลกระทบจากความเสี่ยงของการกระจุกตัวของสินเชื่อและความเสี่ยงอื่นๆที่เกี่ยวข้องต่อฐานะของธนาคารพาณิชย์ไทยส่วนใหญ่ได้ในระดับหนึ่ง อย่างไรก็ตามฟิทช์จะยังคงติดตามสัญญาณของเกณฑ์การปล่อยสินเชื่อที่ไม่ระมัดระวัง ซึ่งอาจส่งผลให้มีการกระจุกตัวของสินเชื่อเพิ่มขึ้นอย่างมากและการเพิ่มขึ้นของความเสี่ยงในด้านคุณภาพสินทรัพย์ รวมทั้งการลดลงของความสามารภในการรองรับผลขาดทุน การเปลี่ยงแปลงของปัจจัยดังกล่าวน่าจะส่งผลกระทบในเชิงลบต่ออันดับเครดิตของธนาคาร
ฟิทช์เชื่อว่าความเสี่ยงของการกระจุกตัวของสินเชื่อได้รับการควบคุมอย่างเหมาะสมโดยเกณฑ์การกำกับลูกหนี้รายใหญ่ของธนาคารแห่งประเทศไทย หรือ ธปท. ที่จำกัดการให้สินเชื่อ ลงทุน ก่อภาระผูกพัน หรือธุรกรรมลักษณะคล้ายสินเชื่อ ในแต่ละวันของธนาคารกับลูกหนี้รายเดียวหรือรายกลุ่มที่ไม่เกิน 25% ของเงินกองทุน นอกจากนี้มูลค่าธุรกรรมกับลูกหนี้ขนาดใหญ่ (เกิน 10% ของเงินกองทุน) รวมกันทั้งหมดต้องไม่เกิน 300% ของเงินกองทุนของธนาคาร ซึ่งเกณฑ์ดังกล่าวเป็นเกณฑ์ที่ค่อนข้างใกล้เคียงกับระบบธนาคารพาณิชย์อื่นในภูมิภาค
อย่างไรก็ตาม ธปท. สามารถผ่อนผันเกณฑ์การกำกับลูกหนี้รายใหญ่เป็นรายกรณี โดยเป็นการผ่อนผันสำหรับบริษัทที่ ธปท. พิจารณาว่าเป็นบริษัทที่มีศักยภาพหรือมีฐานะทางการเงินในระดับที่แข็งแกร่ง ฟิทช์มองว่าการผ่อนผันดังกล่าวเป็นการผ่อนผันชั่วคราวและไม่น่าจะส่งผลให้การกำกับการกระจุกตัวของสินเชื่อมีความเข้มข้นลดลง
การขยายตัวในระดับสูงของสินเชื่อธุรกิจในประเทศไทยตั้งแต่ปี 2553 รวมทั้งการระดมเงินทุนโดยการออกตราสารหนี้สกุลเงินเหรียญสหรัฐฯ ในช่วงปี 2555 ของธนาคารพาณิชย์ไทยขนาดใหญ่ ปัจจัยทั้งสองแสดงถึงความต้องการเงินทุนที่เพิ่มมากขึ้นของบริษัทไทยขนาดใหญ่เพื่อการลงทุนทั้งในประเทศและต่างประเทศ หนึ่งในสัญญาณของการปรับตัวเพิ่มขึ้นของการกระจุกตัวของสินเชื่อ คืออัตราส่วนสินเชื่อของลูกหนี้รายใหญ่ 20 รายแรกต่อส่วนของผู้ถือหุ้นได้ปรับตัวเพิ่มขึ้นตั้งแต่ปี 2553 อย่างไรก็ตามอัตราส่วนดังกล่าวโดยรวมยังคงอยู่ในระดับที่ใกล้เคียงกับอัตราส่วนของธนาคารพาณิชย์อื่นในภูมิภาคซึ่งอยู่ที่ระดับ 100% — 150% และธนาคารพาณิชย์ไทยบางแห่งมีอัตราส่วนดังกล่าวต่ำกว่านี้
อย่างไรก็ตามด้วยเงินกองทุนและระดับสำรองหนี้สงสัยจะสูญที่อยู่ในระดับแข็งแกร่ง รวมทั้งความสามารถในการทำกำไรที่ค่อนข้างมั่นคง น่าจะช่วยรองรับผลกระทบจากความเสี่ยงของการกระจุกตัวของสินเชื่อและความเสี่ยงอื่นๆที่เกี่ยวข้องต่อฐานะของธนาคารพาณิชย์ไทยส่วนใหญ่ได้ในระดับหนึ่ง อย่างไรก็ตามฟิทช์จะยังคงติดตามสัญญาณของเกณฑ์การปล่อยสินเชื่อที่ไม่ระมัดระวัง ซึ่งอาจส่งผลให้มีการกระจุกตัวของสินเชื่อเพิ่มขึ้นอย่างมากและการเพิ่มขึ้นของความเสี่ยงในด้านคุณภาพสินทรัพย์ รวมทั้งการลดลงของความสามารภในการรองรับผลขาดทุน การเปลี่ยงแปลงของปัจจัยดังกล่าวน่าจะส่งผลกระทบในเชิงลบต่ออันดับเครดิตของธนาคาร
ฟิทช์เชื่อว่าความเสี่ยงของการกระจุกตัวของสินเชื่อได้รับการควบคุมอย่างเหมาะสมโดยเกณฑ์การกำกับลูกหนี้รายใหญ่ของธนาคารแห่งประเทศไทย หรือ ธปท. ที่จำกัดการให้สินเชื่อ ลงทุน ก่อภาระผูกพัน หรือธุรกรรมลักษณะคล้ายสินเชื่อ ในแต่ละวันของธนาคารกับลูกหนี้รายเดียวหรือรายกลุ่มที่ไม่เกิน 25% ของเงินกองทุน นอกจากนี้มูลค่าธุรกรรมกับลูกหนี้ขนาดใหญ่ (เกิน 10% ของเงินกองทุน) รวมกันทั้งหมดต้องไม่เกิน 300% ของเงินกองทุนของธนาคาร ซึ่งเกณฑ์ดังกล่าวเป็นเกณฑ์ที่ค่อนข้างใกล้เคียงกับระบบธนาคารพาณิชย์อื่นในภูมิภาค
อย่างไรก็ตาม ธปท. สามารถผ่อนผันเกณฑ์การกำกับลูกหนี้รายใหญ่เป็นรายกรณี โดยเป็นการผ่อนผันสำหรับบริษัทที่ ธปท. พิจารณาว่าเป็นบริษัทที่มีศักยภาพหรือมีฐานะทางการเงินในระดับที่แข็งแกร่ง ฟิทช์มองว่าการผ่อนผันดังกล่าวเป็นการผ่อนผันชั่วคราวและไม่น่าจะส่งผลให้การกำกับการกระจุกตัวของสินเชื่อมีความเข้มข้นลดลง